10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ทุกสิ่งที่คุณต้องการทราบเกี่ยวกับกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติก

ค้นพบว่าคุณสามารถสร้างกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้อย่างไร
3D images of blowers in cement plant
ปิด

วิธีเลือกปั๊มลมให้เหมาะสมกับธุรกิจคุณ

วิธีเลือกเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressor) ให้เหมาะสมกับการใช้งานถือเป็นเรื่องยาก ควรพิจารณาจากหลายๆ ปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ขนาด ประเภท และชนิดของปั๊มลม แอตลาส คอปโก้เอง ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านระบบอัดอากาศ จึงมีคำแนะนำเล็กๆ น้อยๆ มาฝากกันค่ะ

วิธีเลือกปั๊มลมให้เหมาะสมกับธุรกิจคุณ

คุณกำลังเลือกซื้อปั๊มลมหรือเครื่องอัดอากาศ (air compressor) ตัวใหม่อยู่ใช่ไหม หลายท่านอาจจะมีวิธีหรือเทคนิคการเลือกที่ต่างกันออกไปตามความต้องการใช้งาน ไม่ว่าจะเป็น ขนาด ประเภท และชนิดของปั๊มลม  โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีในปัจจุบันที่มีความหลากหลายและทันสมัย อาจทำให้คุณเกิดความสับสนได้  การเลือกเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressor) สักเครื่องให้ถูกต้องเหมาะสมกับการใช้งานจึงเป็นเรื่องยาก  

แอตลาส คอปโก้เอง ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านระบบอัดอากาศ จึงมีคำแนะนำเล็กๆ น้อยๆ มาฝากกันค่ะ  เราอยากให้คุณลองพิจารณาตอบคำถามตามเช็คลิสดังต่อไปนี้ หากคุณสามารถตอบคำถามเหล่านี้ได้เราเชื่อว่าคุณจะสามารถเลือกเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมที่ตรงใจกับการใช้งานได้อย่างแน่นอนค่ะ 

1. การใช้งานเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมของคุณเป็นอย่างไร? (How are you using the compressor?)

ก่อนจะเลือกซื้อเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressor) สักเครื่องคุณจำเป็นต้องรู้ก่อนว่าการใช้งานของคุณเป็นอย่างไร มีการใช้ลมตลอดทั้งวันหรือไม่ หรือมีการใช้งานเป็นครั้งๆ รายชั่วโมง เพื่อที่จะเลือกเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressor) ที่สามารถจ่ายไฟและแรงดันลมได้เหมาะสม เพราะหากเครื่องมีขนาดเล็กเกินไปก็จะทำงานหนักจนเกินไป หากเลือกเครื่องที่มีขนาดใหญ่เกินกำลังก็จะกินไฟโดยใช่เหตุ ยกตัวอย่างเช่น อู่ซ่อมรถ ที่มีการใช้ลมเพียงบางช่วงของวัน อาจเลือกใช้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมขนาดเล็กแบบลูกสูบ (piston compressor) ในขณะที่เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม ขนาดใหญ่แบบสกรูโรตารีจะเหมาะกับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีการใช้ลมตลอดทั้งวันเพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่อง

2. สถานที่ติดตั้งเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมคือที่ใด (Where will you place the compressor)?

อันดับต่อมาคือคุณต้องรู้ว่าความเร็วลมหรืออัตราการไหลของลม (airflow) เป็นอย่างไรเพื่อที่คุณจะต้องวางแผนระบบระบายความร้อนให้เหมาะสมและวางแผนว่าควรจัดวางตัวเครื่องในลักษณะใด เพราะเราไม่สามารถวางเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressor) ไว้ในพื้นที่ปิดสนิทได้เนื่องจากอาจส่งผลให้เกิดปัญหาความร้อนสูงเกินไปและเครื่องชำรุดก่อนเวลาอันควร การออกแบบห้องคอมเพรสเซอร์จึงควรคำนึงถึงการไหลเวียนของอากาศเสมอ เพื่อให้สามารถดึงอากาศเย็นเข้าสู่ภายในตัวเครื่องและสามารถระบายลมร้อนออกจากห้องได้ 

ข้อนี้คุณสามารถพิจารณาเลือกขนาดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมให้ตรงกับพื้นที่ว่างที่มีอยู่ได้ หากคุณติดตั้งตัวเครื่องปั๊มลมภายนอกห้องคอมเพรสเซอร์ คุณอาจจะต้องพิจารณาเรื่องของผลกระทบที่เกิดจากเสียงเพิ่มเติมด้วยว่าอยู่ใกล้กับที่พักอาศัยหรือไม่ ผลกระทบที่เกิดจากน้ำคอนเดนเสท รวมไปถึงสภาพอากาศที่อาจเย็นเกินไป

3. การใช้งานของคุณต้องใช้แรงดันเท่าไหร่? (What are your pressure requirements?)

หากต้องการเลือกปั๊มลม คุณจำเป็นต้องทราบว่าการใช้งานลมของคุณต้องใช้แรงดันกี่ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (psi) ซึ่ง pounds per square inch (psi)  หรือ ปอนด์ต่อตารางนิ้ว PSI เป็นหน่วยวัดความดัน ให้คุณพิจารณาจากข้อกำหนด psi ของเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้แรงลมสูงสุด เช่น เครื่องเปลี่ยนยางในอู่ซ่อมรถอาจใช้ลมสูงสุดที่ 150 psi ในขณะที่เครื่องมือช่างต้องใช้เพียง 90-100 psi เท่านั้น ดังนั้นคุณจะต้องเลือกใช้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressor) ที่สามารถทำแรงดันได้ 150 psi ตามความต้องการสูงสุด หากอุปกรณ์ใดต้องการ ค่า psi สูงอาจต้องใช้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบสองขั้นตอนหรือหลายขั้นตอน (multi-stage compressor) เพื่อให้สามารถผลิตแรงดัน psi ได้ตามต้องการ

คุณสามารถติดตั้งตัวควบคุมแรงดัน (regulator) เพื่อลดแรงดันอากาศให้ไม่สูงเกินไป  เนื่องจากการใช้แรงดันที่สูงเกินไปจะทำให้เครื่องมือเสียหายและเปลืองไฟได้

4. อัตราการไหลของลมที่ต้องการเป็นอย่างไร? (What is your required air flow?)

ปริมาณลมดูดหรือปริมาตรอากาศอิสระ (Free Air Delivery : FAD)  โดยทั่วไปมีหน่วยวัดเป็นลูกบาศก์ฟุตต่อนาที (cfm) เป็นปริมาณการไหลของอากาศ (air flow) ที่ปั๊มลมสามารถสร้างขึ้นได้ตลอดเวลา สามารถบีบอัดออกมาเป็นความจุแบบลูกสูบ (piston displacement) หรือลูกบาศก์ฟุตต่อนาทีจริง (acfm) ดังนั้นการเลือกเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมจึงควรตรวจสอบให้แน่ใจว่า acfm สามารถทำงานได้ปกติหรือไม่ เนื่องจากนี่คือปริมาณอากาศทั้งหมดที่มีให้ใช้งาน เครื่องมือหรือชิ้นส่วนของเครื่องจักรส่วนใหญ่จะมีข้อกำหนด cfm ดังนั้นคุณสามารถใช้ข้อมูลนี้เพื่อเลือกขนาดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมของคุณอย่างเหมาะสม

5. แรงม้าจำเป็นหรือไม่ (How much horsepower do you need?)

horsepower หรือแรงม้า เป็นหน่อยวัดกำลังการทำงานของมอเตอร์ที่เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressor) สามารถผลิตได้  โดยปกติแล้วยิ่งแรงม้าสูงเท่าไหร่ ค่า cfm ก็ยิ่งสูงขึ้นตามไปด้วย แต่อย่าลืมว่าแรงม้า (HP) ไม่ใช่ตัวบ่งชี้ความต้องการใช้งานที่ดี เราขอแนะนำให้คุณพิจารณาจากค่า psi และ cfm ตามการใช้งานจริงของคุณจะดีกว่า แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาให้ทันสมัยขึ้น บริษัทปั๊มลมต่างๆ จึงได้ออกแบบปั๊มลมเพื่อให้ได้ค่า cfm ต่อแรงม้ามากขึ้น หากคุณกำลังอัพเกรดหรือมองหาเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมตัวใหม่ คุณสามารถเลือกซื้อเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมที่มีแรงม้าน้อยกว่าเดิมได้ซึ่งจะทำให้ประหยัดเงินได้มากกว่าทั้งการซื้อและที่สำคัญคือช่วยประหยัดพลังงานได้มหาศาล

6. ถังลมควรมีขนาดเท่าไหร่? (How big should your tank be?)

ขนาดของถังเก็บลมจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าแรงดันอากาศในถังนั้นพร้อมใช้งานหรือไม่  ถังเก็บลมขนาดใหญ่จะช่วยให้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressor) ทำงานน้อยลงหากมีแรงดันลมขั้นต่ำหมุนเวียนอยู่ในระบบ ซึ่งถังเก็บลมขนาดเล็กจะต้องทำงานหนักขึ้นเมื่อมีการใช้งานอากาศ เพื่อผลิตอากาศเติมในส่วนที่มีการใช้งานไป

 

การเลือกถังเก็บลมแนวตั้งหรือแนวนอนนั้นไม่มีผลต่อประสิทธิภาพการใช้งานของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม  แต่อาจจะส่งผลต่อพื้นที่ใช้งานหรือพื้นที่ติดตั้ง ดังนั้นเราขอแนะนำให้คุณเลือกใช้ถังแนวตั้งหากติดตั้งในพื้นที่ขนาดเล็ก เนื่องจากถังเก็บลมแนวนอนจะเหมาะกับเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมที่มีขนาดใหญ่

 

โดยทั่วไปเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมสกรูโรตารี่แบบความเร็วคงที่ (fixed speed rotary screw compressors) จะมีหลักการคือปั๊มลมหนึ่งตัวจะใช้ถังเก็บลมจำนวน 4 ตัวต่อ cfm ของอากาศที่ผลิตได้ แต่หากเป็นเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบปรับความเร็วรอบมอเตอร์ได้ (VSD compressors) จะใช้ถังเก็บลมเพียง 1 แกลลอนต่อ cfm  สำหรับปั๊มลมแบบลูกสูบ (piston compressors) นั้น การใช้ถังเก็บลมขนาดใหญ่จะทำให้สามารถหมุนเวียนลมได้น้อยลง ดังนั้นการใช้ถังขนาดใหญ่จึงไม่จำเป็นและยังทำให้ปั๊มลมทำงานหนักเกินจำเป็น หากคุณพบว่าปั๊มลมลูกสูบของคุณทำงานหนักเกินกว่า 60% แสดงว่าถึงเวลาอัพเกรดปั๊มลมแล้วล่ะ

7. ควรติดตั้งอุปกรณ์เสริมตัวใดเพิ่มอีกหรือไม่? (What additional features should you think about?)

โดยมากเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressor) มักจะมาพร้อมคุณสมบัติต่างๆ ที่หลากหลายตามประเภทปั๊มลมเพื่อให้เหมาะกับความต้องการใช้งานที่มากขึ้น โดยสิ่งที่คุณควรพิจารณาเพิ่มเติม ได้แก่ 

  •   ระบบขับเคลื่อนกรณีใช้งานหนัก (heavy-duty drive-trains)
  •  ระบบระบายความร้อนที่ดี (cooling capacity)
  • คุณภาพอากาศที่ใช้เป็นแบบ oil-free หรือ oil-injected
  • ตัวกรองสำหรับรับอากาศขาเข้า (pre-filters)
  • มอเตอร์แบบปรับความเร็วรอบได้ (variable speed drive motors)
  • การอัดแบบหลายขั้นตอน (multi-stage compression)
  • โครงสร้างสแตนเลสหรือเหล็ก (stainless steel หรือ cast iron) 
  • มีการใช้งานในอุณหภูมิแวดล้อมสูง ( high ambient temperature)

ซึ่งคุณควรพิจารณาให้เหมาะสมตามความต้องการเฉพาะของคุณ คุณสามารถปรึกษาวิศวกรฝ่ายขายผู้เชี่ยวชาญของเราเพื่อเลือกตัวเลือกที่เหมาะสมกับคุณ

8. กำลังไฟฟ้าจำเป็นหรือไม่? (What are the compressor’s electrical requirements?)

กำลังไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเรือนกับโรงงานนั้นไม่เหมือนกัน ปั๊มลมที่ติดตั้งสำหรับใช้งานอุตสาหกรรมนั้นใช้กำลังไฟฟ้ามากกว่าบ้านเรือนมาก โดยกำลังไฟฟ้าตามบ้านเรือนจะเป็นแบบเฟสเดียว 110v สามารถรองรับการใช้งานของปั๊มลมได้สูงสุดเพียง 3 แรงม้าเท่านั้น หากเป็นแบบเฟสเดียวแต่ 230v สามารถรองรับการใช้งานของปั๊มลมได้สูงสุดเพียง 5 แรงม้า ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยหากต้องการใช้กำลังไฟเพิ่มขึ้นเราขอแนะนำให้เปลี่ยนเป็นแบบ 3 เฟส

เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเลือกปั๊มลม ได้ ที่นี่ หรือต้องการปรึกษา สอบถามผู้เชี่ยวชาญของแอตลาส คอปโก้ได้ โดยตรงที่ Official Line@: atlascopcothailand  หรือช่องทางเพจ  Facebook

                                                            

Screw compressors เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดไร้น้ำมัน compressor เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม ตัวปรับความเร็วรอบมอเตอร์ VSD Piston compressor เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบหล่อลื่นด้วยน้ำมัน (Oil-lubricated compressors) ตัวปรับความเร็วรอบมอเตอร์ VSD เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบหล่อลื่นด้วยน้ำมัน (Oil-lubricated compressors) เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมสกรู ความเร็วคงที่ เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดไร้น้ำมัน เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (Air compressor) Tooth compressors เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบลูกสูบ เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมสกรูรุ่นใหม่ 2022

atlas copco thailand 24/7 customer center

แอตลาส คอปโก้ ประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

125 หมู่ 9 นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว์ ถ.บางนาตราด กม.36 ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 24130

วิธีเลือกปั๊มลมให้เหมาะสมกับธุรกิจคุณ

explainer icon