10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ทุกสิ่งที่คุณต้องการทราบเกี่ยวกับกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติก

ค้นพบว่าคุณสามารถสร้างกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้อย่างไร
3D images of blowers in cement plant
ปิด

ไขข้อข้องใจ ทำไม สกรูโบลเวอร์ (Screw Blower) ถึงดีกว่า รูทโบลเวอร์ (Root Blower) ?

สกรูโบลเวอร์ไร้น้ำมัน ZS VSD (Oil-free Screw Blower ZS)

เทคโนโลยีที่ตอบโจทย์การใช้งานในอุตสาหกรรมและช่วยประหยัดพลังงานได้ดีกว่า รูทโบลเวอร์ 30%

โบลเวอร์ หรือ เครื่องเป่าอากาศ เป็นอุปกรณ์ที่นำมาใช้ในงานเติมอากาศ โดยมีหน้าที่สร้างแรงดันลมให้เกิดการเคลื่อนที่ของอากาศด้วยความเร็วและทิศทางที่ต้องการ ทางสมาคมวิศวกรเครื่องกลแห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan Society of Mechanical Engineers: JSME) ได้ให้คำนิยามของโบลเวอร์ว่าเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในความดันที่มากกว่า 1 – 10 เมตรน้ำ (mH2O) (ประมาณ 0.1 – 1 bar) และเรียกอุปกรณ์ที่ทำงานในความดันที่มากกว่า 10 เมตรน้ำ ว่า คอมเพรสเซอร์ หรือ เครื่องอัดอากาศ

โบลเวอร์มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับการใช้งาน แต่วันนี้เราจะมาพูดถึง รูทโบลเวอร์ (Root blower) และ สกรูโบลเวอร์ ZS (Oil-free Screw Blower ZS) จาก Atlas Copco ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ ในแง่ของการทำงานที่จะช่วยไขข้อข้องใจว่าทำไมจึงควรเปลี่ยนมาใช้ สกรูโบลเวอร์ กัน

ZS screw blower pressure volume full

 

การทำงานของ รูทโบลเวอร์ ถูกออกแบบมาโดยใช้หลักการอัดอากาศภายนอก (External Compression) แบ่งการทำงานเป็น 3 ขั้น เริ่มจาก

  • ขั้นที่ 4-1 การดูดอากาศ: อากาศเข้ามาในห้องเครื่องอัดอากาศ ปริมาตรอากาศยังคงที่ในขณะที่โรเตอร์ (Rotor) หมุน 
  • ขั้นที่ 1-2 การอัดอากาศภายนอก: อากาศจะถูกอัดจากภายนอกเนื่องจากความดันต้านกลับ (back-pressure) ของท่อที่เชื่อมต่อกัน
  • ขั้นที่ 2-3 การปล่อยอากาศ: อากาศจะถูกดันออกจากท่อ
ZS screw blower working pressure

 

 

โดยการอัดอากาศแบบภายนอกนั้นทำให้มีความต่างของแรงดันขาเข้าและขาออกสูง ส่งผลต่อการรั่วไหลของลมบริเวณช่องว่างของใบพัด ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานตก การบริโภคพลังงานตามหลักเทอร์โมไดนามิกส์เป็นไปตามแผนภาพดังรูปด้านล่าง

ZS pressure and volume

ในขณะที่ สกรูโบลเวอร์ ใช้หลักการอัดอากาศภายใน (Internal Compression) ความดันจะค่อย ๆ สูงขึ้นทีละร่องสกรู เพราะเกิดการบีบอัดอากาศภายในชุดสกรู โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 3 ขั้นเช่นกัน ดังนี้ 

  • ขั้นที่ 4-1 การดูดอากาศ: อากาศเข้ามาในห้องเครื่องอัดอากาศ 
  • ขั้นที่ 1-2 การอัดอากาศภายใน: เมื่อโรเตอร์ (rotor) ทำงาน ปริมาตรอากาศจะต่ำลง 
  • ขั้นที่ 2-3 การปล่อยอากาศ: อากาศจะถูกดันออกจากท่อ
ZS working system
โดยหลักการอัดอากาศภายในทำให้เกิดการรั่วไหลกลับระหว่างขาเข้าและขาออกนน้อยมาก ทำให้ประสิทธิภาพและปริมาณลมมากกว่าในขณะที่ใช้พลังงานน้อยกว่า
ZS screw bloer comparison power

นอกจากนี้ จะเห็นข้อแตกต่างระหว่าง รูทโบลเวอร์ ในมุมของพลังงานที่สูญเสียไป และ สกรูโบลเวอร์ ZS จาก Atlas Copco ในมุมของการช่วยประหยัดพลังงาน ดังนี้ 

  1. การอัดอากาศภายนอกของ รูทโบลเวอร์ ส่งผลให้เกิดการเสียพลังงานมากกว่าการอัดอากาศภายในของ สกรูโบลเวอร์ 
  2. รูทโบลเวอร์ จำเป็นต้องมีสายพานและรอกซึ่งทำให้เกิดการสูญเสียพลังงานในจุดนี้ ต่างจากสกรูโบลเวอร์ที่ใช้ชุดเกียร์ซึ่งช่วยลดต้นทุนการบำรุงรักษาและเพิ่มเวลาทำงาน (uptime) รวมถึงช่วยประหยัดพลังงาน 
  3. ในสกรูโบลเวอร์ มีอัตราการไหลของอากาศและความดันราบเรียบในระหว่างทำงาน โดยไม่ต้องติดตั้งตัวเก็บเสียงภายนอกแบบ (Silencer) รูทโบลเวอร์ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดการสูญเสียพลังงานจากการสูญเสียแรงดันภายใน Silencer 
  4. ในรูทโบลเวอร์นั้นจะพบการสูญเสียพลังงาน จากการใช้ตัวกรองอากาศขาเข้า (Inlet Filter) แต่สกรูโบลเวอร์นั้นมีการออกแบบระบบที่ราบลื่นมากกว่าเพื่อลดการตกของแรงดันขาเข้าให้น้อยที่สุด

นอกจากนี้ สกรูโบลเวอร์ ZS จาก Atlas Copco ยังมาพร้อมลักษณะพิเศษอื่น ๆ ดังนี้

  1. Variable Speed Drive ทำหน้าที่ปรับปริมาณของอากาศได้ตามความต้องการอย่างแม่นยำ
  2. Intelligent Internal Baffling ที่ถูกออกแบบเพื่อลดเสียงของเครื่องในขณะทำงานไม่เกิน 72 dB(A)
  3. ชุดเกียร์และวัสดุหุ้มโรเตอร์ (rotor) ที่ทนแรงดันเพื่อการอัดอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
  4. มั่นใจในความบริสุทธิ์ของอากาศที่ได้ ปราศจากน้ำมัน 100% ผ่านการรับรอง ISO 9001 และ ISO 8573-1 Class 0
  5. Elektronikon Controller ที่สามารถควบคุมการทำงานภายนอกได้อย่างง่ายดาย

โดยสรุปก็คือการใช้เทคโนโลยี สกรูโบลเวอร์ ZS จาก Atlas Copcp แทนการใช้ รูทโบลเวอร์ นั้น มีข้อดีหลักใน 3 ด้านด้วยกัน ได้แก่กกว่า ช่วยประหยัดพลังงานได้มากกว่า

ปริมาณลมที่ได้มากกว่า

แรงดันที่ตรงความต้องการมากกว่า

ช่วยประหยัดพลังงานได้มากกว่า

ไขข้อข้องใจ ทำไม สกรูโบลเวอร์ (Screw Blower) ถึงดีกว่า รูทโบลเวอร์ (Root Blower) ?

explainer icon