10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ทุกสิ่งที่คุณต้องการทราบเกี่ยวกับกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติก

ค้นพบว่าคุณสามารถสร้างกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้อย่างไร
3D images of blowers in cement plant

เพิ่มประสิทธิภาพการติดตั้งของคุณด้วยระบบควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

คอนโทรลเลอร์ส่วนกลางใหม่ล่าสุดของเรา นั่นคือ Optimizer 4.0 จะทำให้ระบบของคุณเสถียรและลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของคุณ
Optimizer คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม 4.0

เพิ่มประสิทธิภาพการติดตั้งของคุณด้วยระบบควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

คอนโทรลเลอร์ส่วนกลางใหม่ล่าสุดของเรา นั่นคือ Optimizer 4.0 จะทำให้ระบบของคุณเสถียรและลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของคุณ
Optimizer คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม 4.0

เพิ่มประสิทธิภาพการติดตั้งของคุณด้วยระบบควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

คอนโทรลเลอร์ส่วนกลางใหม่ล่าสุดของเรา นั่นคือ Optimizer 4.0 จะทำให้ระบบของคุณเสถียรและลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของคุณ
Optimizer คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม 4.0

เพิ่มประสิทธิภาพการติดตั้งของคุณด้วยระบบควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

คอนโทรลเลอร์ส่วนกลางใหม่ล่าสุดของเรา นั่นคือ Optimizer 4.0 จะทำให้ระบบของคุณเสถียรและลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของคุณ
Optimizer คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม 4.0

เพิ่มประสิทธิภาพการติดตั้งของคุณด้วยระบบควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

คอนโทรลเลอร์ส่วนกลางใหม่ล่าสุดของเรา นั่นคือ Optimizer 4.0 จะทำให้ระบบของคุณเสถียรและลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของคุณ
Optimizer คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม 4.0
ปิด

เราจะลดค่าไฟฟ้าในโรงงานได้อย่างไร?

วิธีต่อไปนี้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในระบบอัดอากาศของคุณ ซึ่งช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากในระยะยาว

วิธีลดค่าไฟฟ้าและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในระบบอัดอากาศ

นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่เราต้องการจะบอกให้คุณรู้ว่าค่าใช้จ่ายในโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่หมดไปกับอะไรบ้าง?

อย่างที่รู้กันว่าหลักๆ แล้ว 70% ของการค่าใช้จ่ายในโรงงานหมดไปกับค่าไฟฟ้าที่ใช้ในกระบวนการผลิต โดยที่ระบบอัดอากาศจะใช้พลังงานไฟฟ้าอยู่ประมาณ 12- 40% ของกระบวนการผลิต และ 70% ของค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานของระบบอัดอากาศล้วนมาจากค่าไฟฟ้า ผู้ใช้งานระบบอัดอากาศหลายท่านจึงพยายามคิดค้นหาวิธีเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและลดการใช้พลังงานในระบบอัดอากาศ ซึ่งช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากในระยะยาว

อย่างที่รู้กันว่าหลักๆ แล้ว 70% ของการค่าใช้จ่ายในโรงงานหมดไปกับค่าไฟฟ้าที่ใช้ในกระบวนการผลิต โดยที่ระบบอัดอากาศจะใช้พลังงานไฟฟ้าอยู่ประมาณ 12- 40% ของกระบวนการผลิต  และ 70% ของค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานของระบบอัดอากาศล้วนมาจากค่าไฟฟ้า ผู้ใช้งานระบบอัดอากาศหลายท่านจึงพยายามคิดค้นหาวิธีเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและลดการใช้พลังงานในระบบอัดอากาศ ซึ่งช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากในระยะยาว คุณสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในระบบอัดอากาศของคุณได้โดยการซ่อมแซมรอยรั่วในระบบอัดอากาศ (leak elimination) เพราะหากเครื่องอัดอากาศมีการทำงานในขณะที่ไม่มีการผลิตนั้นแสดงว่ามีลมรั่ว 100% ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ การตรวจสอบระบบอัดอากาศ หรือ  การลดค่า pressure bands และลดอัตราสถานะ unloaded ของเครื่องลงก็เป็นอีกวิธีที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในระบบอัดอากาศและทำให้ประหยัดพลังงานได้มาก ยังมีวิธีอื่นๆอีกหลายวิธีที่จะช่วยให้ระบบอัดอากาศของคุณลดการใช้พลังงานและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อ่านต่อได้ด้านล่างเลยค่ะ

1. ลองคำนึงถึงการนำพลังงานความร้อนกลับมาใช้ใหม่ (Heat Recovery)ดูสิ

ทำได้จริงหรอ? เป็นไปได้ยังไง? แล้วเราเอากลับมาในรูปแบบไหน?
การประหยัดพลังงานมีหลายรูปแบบ แต่หนึ่งอย่างที่ทุกคนยังรู้กันมากนักคือ การนำพลังงานความร้อนที่เหลือทิ้งในระบบอัดอากาศกลับมาใช้ใหม่ก็สามารถช่วยประหยัดต้นทุนได้มากเช่นกัน หากไม่มีการนำพลังงานความร้อนส่วนนี้ไปใช้ประโยชน์ ความร้อนในส่วนนี้จะถูกปล่อยเข้าสู่ชั้นบรรยากาศผ่านระบบระบายความร้อนและการแผ่รังสี ซึ่งเป็นการสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ ปริมาณความร้อนที่เราจะสามารถกู้คืนกลับมาใช้ได้นั้นขึ้นอยู่กับขนาดและชั่วโมงการทำงานของเครื่องอัดอากาศด้วย โดยปกติแล้วเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดหล่อลื่นด้วยน้ำมัน (oil-injected screw compressors) สามารถนำพลังงานความร้อนกลับมาใช้ใหม่ได้ถึง 70% และ 94% หากเป็นเครื่องอัดอากาศชนิดไร้น้ำมัน (oil-free water-cooled screw compressors) การกู้คืนนำพลังงานความร้อนที่เหลือทิ้งจากระบบอัดอากาศกลับมาใช้ใหม่เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยลดค่าไฟฟ้าในโรงงานได้ เนื่องจากเป็นการลดความจำเป็นในการใช้พลังงาน เช่น การนำพลังงานความร้อนกลับมาใช้ใหม่แทนการใช้ฮีทเตอร์และเครื่องผลิตน้ำร้อน อย่างในโรงไฟฟ้าที่ใช้อุตสาหกรรม boiler เป็นต้น

2. ตรวจสอบขนาดของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressors) ที่คุณใช้งานอยู่มีขนาดเหมาะสมกับการใช้งานหรือไม่?

หากมีขนาดเล็กเกินไปจะทำให้เครื่องอัดอากาศทำงานหนักและชำรุดได้  หากเครื่องอัดอากาศมีขนาดใหญ่เกินไปจะทำให้สิ้นเปลืองพลังงาน  ส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น Check list ด้านล่างจะทำให้คุณรู้ว่าเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเหมาะกับการใช้งานของคุณหรือไม่

what compressor size do I need?
- การใช้งานของคุณเป็นแบบไหน? - โรงงานผลิตหรือโรงเวิร์คชอปของคุณต้องใช้ปริมาณลมเท่าไร? - แรงดันลมขั้นต่ำภายในโรงงานที่คุณจำเป็นต้องใช้คือเท่าไร? - กระบวนการผลิตของคุณจำเป็นต้องใช้อากาศอัดที่สะอาดและแห้งหรือไม่? - เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมของคุณเดินเครื่องตลอดเวลาหรือไม่
มีการใช้งานกี่ชั่วโมงต่อปี? - เครื่องอัดอากาศของคุณมีการทำงานผันผวนหรือไม่? ทำงานกี่กะต่อวัน? - ความต้องการลมอัดระหว่างกะมีความผันผวนหรือไม่? - คุณมีแผนขยายการผลิตในอนาคตหรือไม่?

เมื่อคุณตอบคำถามข้างต้นได้แล้ว นอกจากจะคำนึงถึงเรื่องต้นทุนแรกเริ่มแล้ว ควรพิจารณาถึงเรื่องของค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานที่ต่ำที่สุดด้วย

3. ลองศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ดูบ้าง!!

การลงทุนซื้อเครื่องอัดอากาศสักตัวก็เหมือนกับการตัดสินใจซื้อรถยนต์ เราเข้าใจว่าเป็นการตัดสินใจที่ยาก เนื่องจากเป็นการลงทุนในระยะยาวและจะอยู่กับธุรกิจของคุณไปอีกนานหลายปี  โดยปกติแล้วโรงงานอุตสาหกรรมจะเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศทุกๆ  7-10 ปี ซึ่งหมายความว่าต้นทุนค่าใช้จ่ายในการลงทุนครั้งแรกเป็นเพียงเศษเสี้ยวของค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานเท่านั้น เพราะ 70%  ของค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานของเครื่องอัดอากาศมาจากการใช้พลังงานหรือเป็นค่าไฟฟ้านั่นเอง คุณควรมีการตรวจเช็คการใช้พลังงานทุกๆ 2 – 5 ปีเพื่อเช็คสถานะของเครื่อง

Businessman using smart phone
คุณควรเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศใหม่หรือซ่อมแซมเปลี่ยนอะไหล่บ้าง เครื่องอัดอากาศ หากมีการใช้งานมาเป็นระยะเวลานานย่อมมีสึกหรอ เมื่อไม่มีการซ่อมบำรุงจะทำให้กินไฟ การเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศของคุณเป็นเทคโนโลยีรุ่นใหม่ล่าสุดจะช่วยลดการใช้พลังงานได้มากถึงหนึ่งในสี่จากรุ่นเดิม หากเครื่องอัดอากาศเครื่องเก่าที่คุณกำลังใช้งานมาเป็นเวลานานกำลังเผชิญปัญหากินไฟ ลองเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศเครื่องใหม่ดูสิ แล้วจะพบว่าต้นทุนในการเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศเครื่องใหม่นั้นน้อยกว่าต้นทุนโดยรวมตลอดอายุการใช้งานของเครื่องอัดอากาศเครื่องปัจจุบันเสียอีก เพราะเทคโนโลยีของเครื่องอัดอากาศรุ่นใหม่ที่ทันสมัยพร้อมตัวควบคุมรุ่นใหม่ล่าสุด (controller) และมอเตอร์ประหยัดพลังงานที่จะช่วยให้คุณได้กำไรตั้งแต่วันแรกที่ใช้ นอกจากการเปลี่ยนเครื่องใหม่แล้ว คุณยังสามารถอัพเกรดอะไหล่บางอย่างได้ด้วย ลองสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้านระบบอัดอากาศดูถึงความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนอะไหล่บางส่วนในเครื่องอัดอากาศของคุณให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยลดการใช้พลังงานได้ ยกตัวอย่างเช่น การอัพเกรดปั๊มลมของคุณด้วยการติดตั้งตัวควบคุมอิเล็กทรอนิกส์รุ่นล่าสุด (electronic controller) จะช่วยให้คุณสามารถควบคุมการทำงานของระบบอัดอากาศได้และยังเป็นการลดสถานะ unload ของเครื่อง จึงทำให้ระบบอัดอากาศของคุณมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น

4. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณใช้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมถูกประเภทหรือไม่

การใช้งานระบบอัดอากาศในอุตสาหกรรมต่างๆ ย่อมมีความต้องการลมอัดที่มีคุณภาพแตกต่างกันออกไป หากเป็นการใช้งานในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมสิ่งทอ หรืออุตสาหกรรมเภสัชกรรม ส่วนมากจะต้องการลมอัดที่มีคุณภาพสูง สะอาดปราศจากการปนเปื้อนของน้ำมัน เพื่อให้ผู้บริโภคมั่นใจได้ว่ารับบริโภคของที่สะอาด มีคุณภาพ ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องอากาศที่ผ่านการรับรองมาตรฐานระดับ class 0  เทคโนโลยีเครื่องอัดอากาศแบบไร้น้ำมัน (Oil-free compressor) จากแอตลาส คอปโก้ ช่วยให้คุณไม่ต้องเปลี่ยนไส้กรองบ่อยๆ  ช่วยลดต้นทุนในกระบวนการคอนเดนเสทน้ำมัน  รวมถึงเป็นการลดการสูญเสียพลังงานเมื่อแรงดันในไส้กรองลดลง และยังเป็นการช่วยลดต้นทุนในการบวนการอาหารและเครื่องดื่ม เนื่องจากไม่ต้องใช้น้ำมันฟู้ดเกรดที่มีราคาแพง (food grade oil lubricants)

หากกำลังการผลิตของคุณมีขนาดใหญ่ จำเป็นต้องใช้ลมอัดในปริมาณมาก คุณอาจจะลองพิจารณาเลือกใช้เครื่องอัดอากาศแบบแรงเหวี่ยง (centrifugal compresso) ดู เนื่องจากเครื่องอัดอากาศประเภทนี้จะช่วยให้ประหยัดพลังงานมากกว่า เราขอแนะนำให้คุณติดตั้งพร้อมกับเครื่องอัดอากาศแบบปรับความเร็วรอบได้ (VSD compressor)

5. ทำไมไม่ลองใช้เทคโนโลยี VSD (Variable Speed Drive) ล่ะ

หากกระบวนการผลิตของคุณมีความต้องการลมอัดที่ผันผวน ไม่ว่าจะเป็นปริมาณลมอัดหรือช่วงเวลาการผลิตในช่วงเวลาที่ต่างกัน ทำให้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมกำลังทำงานนอกระบบหรือไม่ได้ใช้งาน ไม่ได้มีการผลิตอากาศอัดใดๆ เป็นระยะเวลานาน การเปิดสตาร์ทเครื่องและชัทดาวน์เครื่องบ่อยๆ ต้องใช้พลังงานจำนวนมาก แต่คุณสามารถประหยัดพลังงานได้มากขึ้นหากเปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีVSD ที่สามารถปรับความเร็วรอบมอเตอร์ได้ตามการใช้งาน โดยเทคโนโลยีVSD จะผลิตอากาศอัดเมื่อจำเป็นเท่านั้น นอกจากนี้ยังช่วยลดการทำงานของเครื่องอัดอากาศที่ไม่จำเป็นลง เครื่องอัดอากาศแบบVSD จึงช่วยประหยัดพลังงานได้โดยเฉลี่ย 35% และเทคโนโลยี VSD + สามารถประหยัดได้มากถึง 50% เมื่อเทียบกับเครื่องอัดอากาศแบบความเร็วคงที่ (fixed speed air compressor)

สิ่งหนึ่งที่เราไม่ควรละเลยในการดูแลรักษาระบบอัดอากาศคือการลงทุนในเรื่องของการบำรุงรักษาเครื่องอัดอากาศเป็นประจำ การซ่อมบำรุงรักษาเครื่องอัดอากาศเป็นประจำจะช่วยคงประสิทธิภาพให้ดีเยี่ยมเสมือนเครื่องใหม่อยู่เสมอ หากมีข้อสงสัยหรือต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถปรึกษาผู้เชี่ยวชาญของแอตลาส คอปโก้ได้โดยตรงที่ Official Line@: atlascopcothailand

                                                            

เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม งานซ่อมบำรุงและการบริการหลังการขาย เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (Air compressor) 2021 อากาศอัด 2021

atlas copco thailand 24/7 customer center

แอตลาส คอปโก้ ประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

125 หมู่ 9 นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว์ ถ.บางนาตราด กม.36 ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 24130

เราจะลดค่าไฟฟ้าในโรงงานได้อย่างไร?

explainer icon