10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ทุกสิ่งที่คุณต้องการทราบเกี่ยวกับกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติก

ค้นพบว่าคุณสามารถสร้างกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้อย่างไร
3D images of blowers in cement plant
ปิด

คุณคิดว่าเหตุใด oil free compressor ถึงเหมาะกับอุตสาหกรรมอาหาร?

คุณคิดว่าเหตุใด oil free compressor ถึงเหมาะกับอุตสาหกรรมอาหาร?

ปั๊มลมแบบไร้น้ำมัน (oil free compressors) ใช้แทนปั๊มลมชนิดน้ำมันหล่อลื่น (oil lubricated compressor) ที่มีการใช้น้ำมันฟู้ดเกรด (Food Grade Fluid) สำหรับอุตสาหกรรมอาหารได้จริงหรือ ? 

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressors) นั้นเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมเกือบทุกอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นระบบลมในโรงงานอุตสาหกรรมตั้งแต่ขนาดเล็ก จนถึงโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และอุุตสาหกรรมครัวเรือน เช่น ร้านซ่อมรถ ที่มีการใช้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมประเภทลูกสูบ (Piston Air Compressor) เพราะใช้แรงดัน (Pressure) ไม่สูงมาก ส่วนเครื่องอัดอากาศหรือปั้มลม (air compressor) ที่ใช้ในโรงงานนั้นส่วนมากแล้วจะใช้เป็นเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมประเภทสกรู (Screw Air Compressor) ที่ใช้แรงลมมากกว่า  แล้วเราจะมีวิธีเลือกเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมให้เหมาะสมกับการใช้งานอย่างไร?

มักจะมีคำถามเข้ามาว่าเราควรจะใช้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (air compressors) แบบใดในกระบวนการผลิตอาหาร:   เครื่องอัดอากาศชนิดหล่อลื่นด้วยน้ำมัน (oil-injected/oil-lubricated) ที่มีการใช้น้ำมันระบบฟู๊ดเกรด (Food Grade Fluid) หรือ เครื่องอัดอากาศชนิดไร้น้ำมัน (oil-free compressor)

>> คำตอบจริงๆ คือ ยังไม่มีคู่มือใดที่สามารถแนะนำได้ว่าเราควรใช้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม (Air Compressor) ชนิดใดในกระบวนการผลิตอาหาร แต่หากเราพูดถึงระบบอัดอากาศที่่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและยาเราควรเลือกใช้น้ำมันฟู้ดเกรดที่ได้มาตรฐานกับเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดหล่อลื่นดวยน้ำมัน (Oil-lubricated Compressors) แต่สิ่งที่ดีที่สุดคือการเลือกใช้เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบไร้น้ำมัน (Oil free Compressor) เพื่อความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์คุณ

ความแตกต่างระหว่างอากาศที่สัมผัสกับอาหารโดยตรง (Contact Compressed Air) และอากาศที่ไม่ต้องสัมผัสกับอาหาร (Non-Contact Compressed Air)

อากาศอัดหรือลมอัดที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารนั้นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือระบบอัดอากาศแบบที่สัมผัสกับอาหารโดยตรง (Contact Compressed Air) และแบบที่ไม่ต้องสัมผัสกับอาหาร (Non-Contact Compressed Air)

1.  อากาศอัดหรือลมอัดแบบที่ไม่ต้องสัมผัสกับอาหาร (Non-Contact Compressed Air) ระบบจะปล่อยอากาศเข้าสู่ชั้นบรรยากาศในขั้นตอนของกระบวนการเตรียมอาหาร กระบวนการผลิต การบรรจุภัณฑ์หรือการถนอมอาหาร  ซึ่งการทำงานของระบบอัดอากาศชนิดนี้ควรจะมีปริมาณน้ำมันในอากาศอัดน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.01  mg / m3

2.  อากาศอัดหรือลมอัดแบบที่ต้องสัมผัสกับอาหารโดยตรง (Contact Compressed Air) เป็นส่วนหนึ่งของการผลิตและการแปรรูปอาหาร รวมถึงบรรจุภัณฑ์และการขนส่ง โดยการทำงานของระบบอัดอากาศชนิดนี้ควรจะมีปริมาณน้ำมันในอากาศอัดน้อยกว่า 0.01 mg / m3 ซึ่งอากาศอัดทั้งสองประเภทนี้มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยในเชิงของเกณฑ์ปริมาณน้ำมันที่อยู่ในอากาศอัด

เนื่องจากความแตกต่างเล็กน้อยในเรื่องของปริมาณน้ำมัน ทำให้อุตสาหกรรมส่วนใหญ่เลือกใช้ปั๊มลมหรือเครื่องอัดอากาศแบบใช้น้ำมันหล่อลื่น (oil lubricated compressors) ที่มีตัวกรองแบบปลายน้ำและน้ำมันฟู้ดเกรดในการแปรรูปอาหาร  

"แล้วน้ำมันฟู้ดเกรด เช่น น้ำมันมะกอก หรือ น้ำมันข้าวโพด นั้นปลอดภัยสำหรับการบริโภคจริงหรือไม่?่"

 

น้ำมันฟู้ดเกรด (food-grade oil)ปลอดภัยจริงหรือ?

น้ำมันฟู้ดเกรด (Food grade Fluid) เป็นน้ำมันมิเนรัล (Mineral Oil หรืออาจเรียกกันว่า Petrolatum หรือ Petroleum Jelly นั้น มีหน้าตาเป็นน้ำมันใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น)  ใช้สำหรับเครื่องจักรกลใน อุตสาหกรรมอาหารและยา มีคุณสมบัติทนต่อแรงกระแทก ลดการสึกหรอ และช่วยลดแรงเสียดทานในเครื่องปั่น เครื่องล้างขวด สายพานลำเลียง กระปุกเกียร์ โซ่ลำเลียง เครื่องบรรจุขวด อุปกรณ์บรรจุภัณฑ์ วาล์ว ไฮดรอลิกส์ เครื่องบรรจุกระป๋องและอื่น ๆ

จากเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (Material safety data sheet หรือ MSDS) ของน้ำมันฟู้ดเกรดได้กล่าวไว้ว่าละอองอากาศที่เราสูดดมเข้าไป ยกตัวอย่างเช่น หมอกหรือควัน ที่เกิดขึ้นในระหว่างใช้งานอาจจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพเราได้ เนื่องจากมีหลักฐานบางอย่างที่ชี้ให้เห็นว่าน้ำมันฟู้ดเกรดสามารถทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจซึ่งอาจทำให้ปอดเสียหายได้ 

ถึงแม้ว่าน้ำมันฟู้ดเกรดจะมีชื่อที่ดูเหมือนบริโภคได้ แต่ความจริงแล้วน้ำมันฟู้ดเกรดไม่ได้มีไว้เพื่อบริโภค แต่เป็นน้ำมันที่ใช้ในการหล่อลื่นเครื่องจักรกลในอุตสาหกรรมอาหารและยา บริษัทที่ผลิตน้ำมันฟู้ดเกรดบางแห่งอาจไม่แสดงรายการสารเติมแต่งหรือส่วนประกอบอื่น ๆ ในฉลากเนื่องจากเหตุผลในการรักษาความลับ แต่จากการทดสอบพิสูจน์ได้ว่าน้ำมันทั่วไปบางชนิดอันตรายน้อยกว่าน้ำมันฟู้ดเกรดที่่มีฉลาก MSDSS แสดงเสียอีก อย่างไรก็ตามเราควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสทางผิวหนังและการสูดดมน้ำมันฟู้ดเกรดให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ที่ตามมา 

เทคโนโลยีปั๊มลมหรือเครื่องอัดอากาศแบบไร้น้ำมัน (Oil-free Compressor) อีกหนึ่งทางเลือกแทนน้ำมันฟู้ดเกรดที่เหมาะสมที่สุด

ZR 90-160 VSD+ 3D setup
เครื่องอัดอากาศหรือคอมเพรสเซอร์ไร้น้ำมัน (Oil-free compressor) จาก Atlas Copco ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน ISO 8573-1 Class Zero และ ISO 22000 จึงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในการใช้แทนน้ำมันฟู้ดเกรดในการแปรรูปอาหาร ปั๊มลมหรือเครื่องอัดอากาศแบบไร้น้ำมันไม่เพียงแต่ลดความเสี่ยงที่เกิดจากการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์เท่านั้น แต่ยังช่วยแต่ยังลดความเสี่ยงในการ downtime ของการผลิตและลดโอกาสในการเรียกคืนผลิตภัณฑ์อีกด้วย ดังนั้นเมื่อเราคำนึงถึงความปลอดภัยของอาหาร คุณจึงวางใจได้ในเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบไร้น้ำมัน (Oil-free Compressor) จาก Atlas Copco ที่เชื่อถือได้และช่วยยังช่วยให้อุตสาหกรรมของคุณประหยัดไฟอีกด้วย

หากสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Offical Line@: atlascopcothailand

อาหารและเครื่องดื่ม Oil-free Air เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดไร้น้ำมัน compressor เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม Atlas Copco อุตสาหกรรมทั่วไป เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแบบหล่อลื่นด้วยน้ำมัน (Oil-lubricated compressors) ระบบอากาศอัดสำหรับอุตสาหกรรม ชนิดไร้น้ำมัน Oil-free Air Food & Beverages อาหารและเครื่องดื่ม เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดไร้น้ำมัน Industrial Air อาหารและเครื่องดื่ม

atlas copco thailand 24/7 customer center

แอตลาส คอปโก้ ประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

125 หมู่ 9 นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว์ ถ.บางนาตราด กม.36 ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 24310

คุณคิดว่าเหตุใด oil free compressor ถึงเหมาะกับอุตสาหกรรมอาหาร?

explainer icon