10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ทุกสิ่งที่คุณต้องการทราบเกี่ยวกับกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติก

ค้นพบว่าคุณสามารถสร้างกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้อย่างไร
3D images of blowers in cement plant
ปิด

โซลูชันการนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่ การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

อย่าปล่อยให้ธุรกิจคุณสูญเสียพลังงานโดยเปล่าประโยชน์อีกต่อไป - Energy recovery systems

ระบบอัดอากาศนั้นมีการใช้ในระบบกระบวนการผลิตในหลายๆ อุตสาหกรรม ในความเป็นจริงเราสามารถเรียกได้ว่าเป็น ปัจจัย 4 ของการดำเนินธุรกิจในการกระบวนการผลิตเลยก็ว่าได้ 

อย่างที่รู้ๆ กันว่ากระบวนการผลิตนั้นเกี่ยวข้องกับต้นทุนในการตำเนินธุรกิจอย่างแน่นอน ซึ่งการลงทุนด้านพลังงานนั้นเป็นส่วนสำคัญหลักของการดำเนินงาน นอกจากนี้พลังงานที่เสียไปในระบบอัดอากาศคิดเป็น 99% ของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) อีกด้วย

ในหลายบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงด้านการลงทุนเพื่อหาวิธีประหยัดพลังงานในระบบอัดอากาศโดยการเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศแบบ Fixed Speed มาเป็นแบบ Variable Speed Drive (VSD) ที่สามารถปรับความเร็วรอบมอเตอร์ได้ตามความต้องการของกระบวนการใช้ลมทำให้ลดการใช้พลังงานที่สิ้นเปลืองลงถึง 50%

แต่ก็ยังมีส่วนที่เพิ่มเติมจากการเปลี่ยนเทคโนโลยีแล้วมาเป็นการตรวจสอบหารอยรั่วที่เกิดในระบบท่อลม รวมไปถึงการปรับค่าแรงดันที่ใช้อยู่ให้เหมาะสมกับการใช้งานจริง

คำถามสำคัญคือเราจะทำอย่างไรให้ธุรกิจสามารถกำจัดพลังงานในระบบอัดอากาศได้

โชคดีที่มีโอกาสให้บริษัทต่างๆ ลดต้นทุนด้านพลังงานเหล่านี้
ที่ชัดเจนที่สุดคือพวกเขาสามารถลงทุนในอุปกรณ์ที่ประหยัดพลังงานเพื่อขจัดความร้อนส่วนเกิน 

 

  • ตัวอย่างเช่น เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมที่มีตัวปรับความเร็วรอบมอเตอร์ (VSD) สามารถลดการใช้พลังงานลงได้ถึง 60% 
  • นอกจากนี้พวกเขายังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพระบบอากาศอัดเพื่อสร้างความมั่นใจว่าจะไม่มีพลังงานที่สูญเปล่า ซึ่งสามารถทำได้โดยการป้องกันการรั่วของอากาศ และตรวจสอบให้แน่ใจว่าแรงดันการทำงานไม่สูงเกินไป 

คุณจะสร้างความมั่นใจว่ามีพลังงานสูญเปล่าน้อยที่สุดเมื่อใช้งานอุปกรณ์ดังกล่าวได้อย่างไร
นี่คือจุดที่เกี่ยวข้องกับการนำพลังงานความร้อนที่จะปล่อยทิ้งกลับมาใช้ใหม่ 

Energy recovery - การนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่

Energy recovery

มาดูอีกส่วนหนึ่งของการสูญเสียพลังงานที่มักถูกมองข้ามนั่นคือ กระบวนการอัดที่ผลิตพลังงานความร้อนจากระบบอัดอากาศ พลังงานความร้อนที่ปกตินั้นมีถูกระบายออกมาจะกระบวนการอัดอากาศเพื่อป้องกันการ OVERHEAT ของเครื่องอัดอากาศเองนั้นได้ถูกปล่อยทิ้งออกนอกตัวอาคารหรือนอกกระบวนการทำให้เกิดการสูญเสียพลังงานโดยใช่เหตุ โดยที่คุณไม่รู้เลยว่า 90% ของพลังงานไฟฟ้าในระบบอัดอากาศนั้นสามารถนำมาเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนได้ 

การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสามารถเพิ่มเติมส่วนของการนำพลังงานที่สูยเสียไปในระบบอัดอากาศกลับมาใช้ใหม่ โดยพลังงานที่สูญเสียไปจะถูกนำมาเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนการผลิตมากถึง 94% เพียงแค่เพิ่เทคโนโลยีการนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่ จึงเป็นเหตุผลสำคัญว่าคุณสามารถได้ทุนคืนจากเทคโนโลยีนี้ในระยะเวลาสั้น

มาทำความเข้าใจถึงประโยชน์ของระบบการระบายความร้อนของเครื่องอัดอากาศกันค่ะ

ก่อนที่คุณจะตัดสินใจลงทุนซื้อระบบนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่นั้น คุณต้องเข้าใจถึงสิ่งสำคัญก่อนว่ากระบวนการไหนที่เหมาะสมกับแอพพลิเคชั่นของคุณเองเพราะระบบระบายความร้อนด้วยน้ำและอากาศในกระบวนการอัดอากาศมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง 

เนื่องจากการนำพลังงานความร้อนจากระบบระบายความร้อนด้วยน้ำในกระบวนการอัดอากาศนั้นมีความซับซ้อนมาก ซึ่งส่งผลถึงอุปกรณ์ตัวอื่นด้วยเช่น ตัวปั๊ม, กระบวนการแลกเปลี่ยนความร้อน, และระบบควบคุมวาล์ว นั่นเป็นเหตุผลว่าระบบนี้เหมาะสมกับโรงงานที่มีเครื่องอัดอากาศตั้งแต่ 22 kW ขึ้นไปจึงจะสามารถประหยัดพลังงานได้มากกว่า แต่ถึงอย่างนั้นพลังงานความร้อนจากการระบายความร้อนด้วยน้ำสามารถผลิตน้ำร้อนที่มีอุณหภูมิสูงถึง 90°C เลยที่เดียวพร้อมยังนำน้ำร้อนนี้ไปใช้ได้ในหลายส่วนของการผลิต  

พลังงานความร้อนที่นำกลับมาใช้ใหม่สามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง?

Uses for recovered heat

หัวข้อต่อไปมีส่วนสำคัญมากหากเราพูดถึงการนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่คือ ธุรกิจของคุณสามารถนำพลังงานความร้อนที่เสียไปนั้นกลับมาใช้ใหม่ได้ในกระบวนการไหนบ้าง? จริงๆ แล้วตัวอย่างง่ายของพลังงานความจากระบบระบายด้วยร้อนด้วยลมนั้นสามารถให้พลังงานความให้กับห้องผลิตหรือตัวอาคารนั่นคือการพูดถึงประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น

สำหรับประเทศไทยนั้นกระบวนการนำความร้อนจากกระบวนระบายความร้อนด้วยน้ำในระบบอัดอากาศมาผลิตน้ำร้อนหรือการทำให้เกิดไอน้ำนั้นสามารถนำมาใช้ได้ในหลายอุตสาหกรรม ซึ่งรวมถึงปัจจัยหลายๆ ส่วนของแอพพลิเคชั่นนั้นด้วย

  • Automotive (กระบวนการผลิตต่างๆ ในอุตสาหกรรมยานยนต์), 
  • pharmaceutical industry (การฆ่าเชื้อและการอบแห้งในอุตสาหกรรมยา), 
  • food and beverage (การพาสเจอร์ไรซ์ การอบแห้ง และการทำความสะอาดในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม), 
  • textiles (การย้อมสีในอุตสากรรมสิ่งทอ), 
  • chemicals (กระบวนการกลั่นต่างๆ ในอุตสาหกรรมเคมี), 
  • electronics (ห้องปลอดเชื้อในอุตสาหกรรมอิเล็คโทรนิค) 
  • และอย่างอื่นอีกมากมาย

เทคโนโลยีการนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่ ช่วยให้คุณประหยัดอะไรได้บ้าง?

มันจะเป็นไปได้ไหมถ้าเราสามารถคำนวนค่าพลังงานที่โรงงานสามารถประหยัดได้หากคุณเปลี่ยนมาใช้ เครื่องอัดอากาศที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อย่างเครื่องอัดอากาศเทคโนโลยี VSD (Variable Speed Compressor) หรือเครื่องทำลมแห้ง (Dryer) ที่สามารถประหยัดพลังงานได้มากกว่าเมื่อเทียบกับรุ่นธรรมดาทั่วไป สิ่งสำคัญของการระบบการนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่นั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆ อย่าง ดังนี้:

  • ประเภทหรือเทคโนโลยีที่นำมาใช้และขนาดของมอเตอร์ในเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม
  • ระยะเวลาในการทำงานของเครื่อง
  • ประเภทของระบบระบายความร้อนที่ใช้ควบคู่กับเครื่องอัดอากาศ
  • การติดตั้งของระบบท่อลมอัดและการทำงานของระบบอัดอากาศ
  • ประโยชน์จากการทำพลังงานความร้อนที่เสียไปกลับมาใช้ใหม่ในกระบวนการอื่น

จากการตรวจสอบเราพบว่าในหลายๆ บริษัทที่เริ่มติดตั้งระบบการนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่นั้นสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากรวม ไปถึงการคืนทุนจากการประหยัดพลังงานนั้นภายในระยะเวลาสั้น

ประโยชน์เพิ่มเติมที่ลูกค้าจะได้รับนอกเหนือจากการลดค่าใช้จ่ายด้านต้นทุนแล้วยังรวมไปถึงการที่โรงงานสามารถลดปริมาณก๊าซคาร์บอนที่ปล่อยสู้ชั้นบรรยากาศอีกด้วย ซึ่งทำให้ตัวโรงงานหรือบริษัทนั้นได้รับเงินทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐสำหรับการลงทุนในเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

จริงๆ แล้วคุณมีอีกหลายเหตุผลในการลดการสูญเสียพลังงานอย่างไม่สมเหตุสมผล ด้วยการนำพลังงานที่เสียไปกลับมาใช้ใหม่ ถ้าคุณยังไม่แน่ใจว่าเทคโนโลยีจะเป็นประโยชน์กับโรงงานของคุณหรือไม่ ติดต่อหาเราเพื่อรับคำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีนี้ได้