10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ทุกสิ่งที่คุณต้องการทราบเกี่ยวกับกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติก

ค้นพบว่าคุณสามารถสร้างกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้อย่างไร
3D images of blowers in cement plant
ปิด

คุณเคยสงสัยในการจัดการระบบอัดอากาศ ในช่วงที่มีการผลิตลดลง หรือต้องหยุดเครื่องเป็นเวลานานหรือไม่?

การ STOP & Re-Start เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม ที่ถูกวิธี จะช่วยคุณสามารถประหยัดพลังงานได้ ในช่วงที่มีการผลิตลดลง

เช็คบทความนี้แล้วเอาไปทดลองกันดูนะคะ ว่าได้ผลอย่างที่เราพูดรึปล่าว

วิธีการปิดหรือเปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม ในช่วงที่จำนวนการผลิตของเราลดลง หรือจำเป็นต้องหยุดเครื่องเป็นเวลานาน ทำตามขั้นตอนง่ายๆ ที่เราแนะนำเพื่อช่วยคุณประหยัดค่าไฟฟ้าที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น

คำแนะนำสำหรับเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมระบบ Oil-injected Compressor ถ้าคุณมีการผลิตลดลง หรือต้องหยุดการผลิตชั่วคราว คุณสามารถทำโดยการปิดเครื่องไปเพื่อหยุดการใช้งานไปเลย ถึงแม้ว่าคุณมีการติดตั้งเครื่องเข้ากับระบบ Central Controller ซึ่งหากว่าคุณไม่ได้ปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมทั้งหมด และยังปล่อยให้เครื่องทำงานอยู่บ้าง ก็อาจส่งผลกระทบต่อค่าไฟที่สูญเสียไปจากรอยรั่วต่างๆ ในระบบ หรืออาจเกิดการควบแน่นของน้ำในระบบได้

วิธีจัดการเปิดปิดที่ถูกวิธีสำหรับเครื่องอัดอากาศแบบระบบ inverter หรือ VSD compressor

เครื่องอัดอากาศแบบระบบอินเวอร์เตอร์ (VSD Compressor) เพียงคุณเปลี่ยนโหมดเป็น “หยุดการทำงาน หรือ Stop Mode” แค่นั้นก็เรียบร้อย แต่คุณจะต้องมั่นใจว่าระบบไฟฟ้า (Electrical power supply) สำหรับเครื่องนั้นยังคงทำงานปกติ เพราะยังต้องทำการ Re-start เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเพื่อช่วยชาร์จตัวเก็บประจุไฟฟ้า ยังเป็นการเตรียมความพร้อมเมื่อเครื่องต้องกลับมาทำงานอีกครั้ง

Water-cooled air compressor เครื่องอัดอากาศแบบใช้น้ำระบายความร้อน

หลังจากที่คุณปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเรียบร้อยแล้ว คุณต้องมั่นใจว่าคุณได้ทำการปิดระบบจ่ายน้ำ เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงปัญหาการควบแน่นของน้ำในระบบอัดอากาศ แล้วอย่าลืมที่จะเปิดมันหลังจากที่คุณกลับมาใช้งานระบบอัดอากาศอีกครั้ง

Atlas Copco Z Compressor เครื่องอัดอากาศแบบไม่ใช้น้ำมันหล่อลื่น (Oil-free)

เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมโมเดล Z นั้นมีความจำเป็นต้องดูแลและใส่ใจเป็นพิเศษ ด้วยการใช้มือหมุนตัวเพลาขับของมอเตอร์ 3 รอบ 1 ครั้งต่อสัปดาห์ วิธีนี้จะช่วยให้คุณป้องกันการแปรผันของแรงดันที่ต่ำและสูงเมื่อต้องเริ่มเปิดเครื่องใหม่หลังจากการที่เครื่องหยุดทำงานมาเป็นเวลานาน ในส่วนของเครื่องระบบ VSD หรือ Variable Speed Drive ของโมเดล Z นั้น หลังจากที่คุณได้ทำการปิดเครื่องแล้ว คุณต้องไม่ลืมที่จะเปิดตัวจ่ายไฟฟ้าทิ้งไว้ นี่เป็นวิธีปกป้องและรักษาระบบการทำงานของตัวเก็บประจุในอินเวอร์เตอร์ได้

เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมระบบแรงเหวี่ยง แบบไม่ใช้น้ำมันหล่อลื่น (Oil-free) (Centrifugal Compressor Model Z)

คุณสามารถตั้งระบบให้เป็น Stop และเปิดระบบไฟฟ้าไว้ ซึ่งต้องมีการเปิดระบบปั๊มน้ำมัน 1 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 10 นาที ในช่วงที่เครื่องอัดอากาศนั้นหยุดใช้งานอยู่ วิธีดังกล่าวจะเป็นรักษาอุณหภูมิน้ำมันให้มีความเหมาะสม และการเปิดใช้ระบบปั๊มน้ำมันตามระยะนี้ จะช่วยให้ตัวลูกปืนได้รับการหล่อลื่น ในช่วงที่เราปิดระบบอัดอากาศเป็นเวลานาน

เครื่องทำลมแห้ง (Air Dryers – adsorption or refrigerant) และเครื่องผลิตก๊าซอัตโนมัติ

อุปกรณ์เหล่านี้สามารถทำการปิดเครื่องด้วยระบบปกติและลดแรงดันในเครื่องหากมีความจำเป็น สำหรับเครื่องผลิตก๊าซนั้นจังหวะที่คุณกำลังลดระบบแรงดันลงนั้น ก๊าซออกซิเจนสามารถเพิ่มสูงได้คุณจำเป็นต้องคอยสังเกตุอุปกรณ์ต่างๆ ในห้องปฏิบัติการตลอดเวลา เปิดเครื่องใช้งานหลังจากที่ปิดเครื่องอัดอากาศมาเป็นเวลานาน "อย่าเปิดเครื่องแล้วใช้งานทันทีโดยเด็ดขาด คุณจำเป็นต้องตรวจสอบอุปกรณ์ภายในเครื่องก่อนที่จะเปิดเครื่องใช้งาน" อย่างแรกคุณจำเป็นต้องปิดระบบไฟฟ้าของเครื่องอัดอากาศก่อน จากนั้นถอดตัวป้องกันเพลาขับและคัปปลิ้งของไดรฟ์ออก คุณต้องตรวจสอบให้เรียบร้อยว่าเพลาของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมสามารถหมุนได้อย่างอิสระ ใส่การ์ดกลับเข้าที่แล้วเปิดแหล่งจ่ายไฟไปยังเครื่องอัดอากาศ เปิดน้ำหล่อเย็น (สำหรับเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมระบายความร้อนด้วยน้ำ)

เปิดวาล์วระบายอากาศของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมอย่างช้าๆ จนกว่าแรงดันระหว่างเครื่องอัดอากาศกับ ระบบท่อลมเท่ากัน หลังจากที่คุณสตาร์ทเครื่องอัดอากาศหมายความว่าเครื่องอัดอากาศของคุณกลับมาออนไลน์อีกครั้ง โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าตัวควบคุมลำดับของคุณเชื่อมต่ออยู่ กรณีที่มีใช้ระบบควบคุมส่วนกลาง

เครื่องทำลมแห้ง (Absorption dryer) และเครื่องผลิตก๊าซอัตโนมัติ

ห้ามเปิดเครื่องในขณะที่ไม่มีลมอัดในระบบ หากต้องเปิดเครื่อง คุณต้องทำการปิดวาล์วด้านหลังของเครื่องทำลมแห้ง (Dryer) หรือเครื่องผลิตก๊าซ แล้วทำให้ระบบมีแรงดันก่อนจากนั้นจึงเริ่มเปิดวาล์วที่ขาออกอย่างช้าๆ กระบวนการนี้จะช่วยหลีกเลี่ยงความเร็วของลมอัดที่อาจทำลายวัสดุดูดซับในเครื่องทำลมแห้ง

หากคุณต้องการคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการเหล่านี้โดยเฉพาะ โปรดติดต่อทีมของเราเพื่อช่วยให้คุณรักษาห้องหรือระบบอัดอากาศของคุณให้ดีที่สุด

                                                            

ฝ่ายบริการลูกค้า งานซ่อมบำรุงและการบริการหลังการขาย Operations ทางเทคนิค ระบบควบคุมและการตรวจสอบ (Control and Monitoring)

atlas copco thailand 24/7 customer center

แอตลาส คอปโก้ ประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

125 หมู่ 9 นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว์ ถ.บางนาตราด กม.36 ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 24130

คุณเคยสงสัยในการจัดการระบบอัดอากาศ ในช่วงที่มีการผลิตลดลง หรือต้องหยุดเครื่องเป็นเวลานานหรือไม่?

explainer icon