10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

10 ขั้นสู่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การลดการปล่อยคาร์บอนเพื่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม - ทุกอย่างที่คุณต้องรู้
10 ขั้นสู่การผลิตอากาศอัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ทุกสิ่งที่คุณต้องการทราบเกี่ยวกับกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติก

ค้นพบว่าคุณสามารถสร้างกระบวนการลำเลียงแบบนิวแมติกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้อย่างไร
3D images of blowers in cement plant
ปิด
ZB 5-6 VSD + teaser

เลือกขนาดปั๊มลมอย่างไร ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด?

Wiki สำหรับระบบอากาศอัด เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม 2019 ทฤษฎีพื้นฐาน เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม 2018 ความเป็นเจ้าของ 2017

คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมนั้น มีอยู่มากมายหลายประเภท เราจึงต้องเลือกใช้ประเภทที่เหมาะสมกับการใช้งาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งจากครั้งก่อนเราเคยพูดถึงวิธีการเลือกคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมไปแล้ว ในหัวข้อ “เลือกคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม (Air Compressor) อย่างไร ให้ตอบสนองความต้องการของคุณได้ดีที่สุด” แต่นั่นเป็นเพียงรายละเอียดส่วนหนึ่งของการตัดสินใจเลือกใช้คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมเท่านั้น ในครั้งนี้เราจะมาเจาะลึกรายละเอียดสำคัญอีกหนึ่งหัวข้อที่ไม่ควรมองข้าม นั่นก็คือ “ขนาดของคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม” โดยการเลือกขนาดของคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม ให้เหมาะสมกับการใช้งานนั้นขึ้นอยู่กับ

  • แรงดันลม (Pressure)
  • อัตราการไหลของลม (Air flow)

  • 1. แรงดันลม (Pressure)

    measure pressure
    แรงดัน หมายถึง ปริมาณของแรงที่ต้องใช้ในการทำงานอย่างหนึ่ง ณ เวลาใดก็ตาม สามารถวัดได้โดยมีหน่วยเป็น psi (ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) หรือ bar (ความดันเมตริก) ยกตัวอย่างหลักการทำงานของแรงดันแบบง่ายๆ ให้คุณลองนึกถึงการเคลื่อนย้ายบล็อกไม้ไปวางบนโต๊ะ หากเราลองใช้แรงดันลม 75 psi แล้วดันแรงนั้นลงบนบล็อกไม้แล้วไม่สามารถเคลื่อนย้ายมันได้ แสดงว่าแรงดันลมนั้นไม่เพียงพอ ขณะเดียวกันเมื่อใช้แรงดันลม 100 psi แล้วสามารถทำให้บล็อกไม้เคลื่อนย้ายได้ตามระยะที่ต้องการ นั่นหมายความว่าแรงดันลม 100 psi นั้นเป็นแรงดันที่เหมาะสม และหากใช้แรงดันที่ต่ำกว่านี้จะไม่สามารถทำงานได้ตามที่กำหนด เช่นเดียวกัน คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมก็ต้องมีแรงดันเพียงพอที่จะทำงานได้ตามที่กำหนด การเลือกขนาดคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมให้มีขนาดเหมาะสมกับแรงดันลมทีต้องการใช้งานจึงสำคัญมาก ไม่อย่างนั้นคุณอาจจะเจอกับปัญหาที่ตามมา หรือไม่สามารถทำงานได้ตามที่กำหนด

    2. อัตราการไหลของลม (Air flow)

    the air symbol in the compressed air wiki
    อัตราการไหลของลม หรือ การส่งอากาศอิสระ (Free Air Delivery, FAD) สามารถวัดได้โดยมีหน่วยเป็น cfm (ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที), l/s (ลิตรต่อวินาที) หรือ m3/h (ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง) ขึ้นอยู่กับสภาพทางภูมิศาสตร์ ซึ่งอัตราการไหลของลมก็คือ ความสามารถของคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมที่ช่วยให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่องภายในระยะเวลาที่กำหนด ส่วนปริมาณการไหลของลมที่ต้องการนั้นจะขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ต้องการทำงานให้เสร็จ จากเหตุการณ์บล็อกไม้ในตัวอย่างข้างต้น เราขออธิบายเพิ่มเติมในเรื่องอัตราการไหลของลม โดยคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมจะทำงาน (load) หยุดทำงาน (unload) และเก็บลมไว้ในถังพักลมเพื่อให้พร้อมใช้งานสำหรับการเคลื่อนที่บล็อกไม้ในครั้งต่อไป แล้วอัตราการไหลของลม สำคัญอย่างไรกับการเลือกขนาดคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมล่ะ? มาดูตัวอย่างเหตการณ์ง่ายๆกันค่ะ หากเราต้องการเคลื่อนย้ายบล็อกไม้ทุกๆชั่วโมง (ไม่ได้เคลื่อนย้ายอย่างต่อเนื่อง) จะต้องใช้อัตราการไหลของลมน้อยลง จึงควรเลือกคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม และถังเก็บลมที่มีขนาดเล็กลง เนื่องจากความต้องการในการใช้ลมนั้นมีน้อย แต่หากเราต้องการให้บล็อกไม้เคลื่อนที่อย่างต่อเนื่องภายในเวลาที่กำหนด ก็ต้องใช้อัตราการไหลของลม (CFM) มากขึ้น จึงต้องใช้คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เพราะหากอัตราไหลการของลมไม่เพียงพอ อาจมีการหยุดทำงานเกิดขึ้นบ่อยครั้งในขณะที่คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมสร้างแรงดันในถังสำรอง
    pressure experiment

    สุดท้ายนี้ หากคุณกำลังมองหาคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมที่สามารถจ่ายลมได้เพียงพอต่อการใช้งาน อย่าลืมนึกถึงสิ่งสำคัญ 2 อย่าง นั่นก็คือ อัตราไหลของลม (CFM) และแรงดัน (PSI) ที่คุณต้องการใช้งาน เพื่อให้เครื่องจักรทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยวิธีหนึ่งที่สามารถบอกอัตราการไหลของลมที่ต้องการให้กับคุณได้ คือ การติดต่อผู้ผลิตคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมที่คุณจะใช้งาน และขอ data sheet เพื่อศึกษาข้อมูลที่ต้องการทราบ แต่อย่างไรก็ตาม วิธีที่ดีที่สุดคือการ ”ตรวจสอบระบบอากาศอัด” เพื่อวัดอัตราการไหลของลมได้อย่างแม่นยำ ซึ่งมีการดูแลทุกขั้นตอนโดยทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ นอกจากนี้เรายังมีเคล็ดลับอีกเล็กน้อยมาฝากกันค่ะ นั่นก็คือ “อัตราการไหลของลม” ไม่ได้ขึ้นอยู่กับขนาดของคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมเพียงอย่างเดียว แต่ยังขึ้นอยู่กับชนิดของคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมด้วย โดยชนิดโรตารี่สกรู จะให้อัตราการไหลของลมต่อกิโลวัตต์ (kW) หรือ แรงม้า(HP) ที่มากกว่า ชนิดลูกสูบ

    จากบทความนี้สามารถสรุปได้ว่า แรงดันลม (PSI) ที่ต้องการนั้นขึ้นอยู่กับลักณะงานที่คุณนำไปใช้ ส่วนอัตราการไหลของลม (CFM) จะขึ้นอยู่กับความถี่ในการใช้งาน หรือมีงานกี่อย่างที่ต้องทำในเวลาเดียวกัน เมื่อเราทราบถึงปัจจัยสำคัญทั้ง 2 อย่างนี้แล้ว ขั้นตอนถัดไปก็คือการเลือกขนาดของคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม ขั้นตอนนี้สำคัญมาก เพราะหากเลือกใช้คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมที่มีขนาดเล็กไป จะทำให้เกิดแรงดันตก (pressure drop) และไม่สามารถทำงานได้เสร็จทันเวลา หรือ หากคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมมีขนาดใหญ่เกินไป ก็จะทำให้กลไกการทำงานมีปัญหา คุณสามารถใช้สูตรคำนวนตามตารางด้านล่างนี้ เพื่อหาขนาดของคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมที่เหมาะสมกับการใช้งานของคุณ หรือ ปรึกษาวิศวกรผู้เชี่ยวชาญของเราได้ที่นี่ค่ะ

    atlas copco thailand 24/7 customer center

    แอตลาส คอปโก้ ประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

    125 หมู่ 9 นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว์ ถ.บางนาตราด กม.36 ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 24310

    เลือกขนาดปั๊มลมอย่างไร ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด?

    explainer icon